เว็บบอร์ด LCDTVTHAILAND

ห้องซื้อขายแลกเปลี่ยน => ห้องซื้อ-ขาย-แลกเปลี่ยนของจิปาถะ => ข้อความที่เริ่มโดย: lnwneverdie2015 ที่ เมษายน 04, 2015, 11:29:52 am

หัวข้อ: ตรวจสอบค่าไฟฟ้าต่างๆด้วย เครื่องมือวัด fluke พื้นฐาน สำหรับผู้เริ่มต้น
เริ่มหัวข้อโดย: lnwneverdie2015 ที่ เมษายน 04, 2015, 11:29:52 am
(http://ponpe.com/images/stories/virtuemart/product/51-2.jpg)
เครื่องมือช่างไฟฟ้าเป็นสิ่งที่ช่างไฟสมัครเล่น หรือช่างอาชีพ จำเป็นต้องฝึกหัดรู้จักการใช้งานให้คล่อง มากกว่าการรู้แต่จากหนังสือเท่านั้น และเครื่องมือวัดไฟ เป็นอีกเครื่องมือไฟฟ้าอีกตัวที่สำคัญอย่างมากสำหรับมือใหม่ เพราะเป็นเครื่องมือชิ้นต้นๆ ที่ช่วยให้เพื่อนๆเข้าใจเรื่องทฤษฏีไฟฟ้า กระนั้นเราต้องเลือกซื้อหา มัลติมิเตอร์ มาใช้งานก่อน ซึ่งมีอยู่จำนวนมากหลายแบรนด์ในตลาด ทั้งที่ราคาที่ไม่แพง และราคาสูงแตกต่างกัน บางรุ่นจะมีคุณสมบัติพิเศษ เช่น  การเหนี่ยวนํา แต่ส่วนใหญ่แล้วดิจิตอลมัลติมิเตอร์ จีนแดงจะอ่านค่าได้ไม่เที่ยงตรงนัก เราขอแนะดิจิตอลมัลติมิเตอร์ยี่ห้อ fluke ซึ่งแม้จะมีราคาสูง แต่ทนทาน ได้มาตรฐาน และอ่านค่าได้อย่างแม่นยำ ซึ่งเรียกว่าซื้อทีเดียวใช้คุ้ม โดยคุณสามารถซื้อหาผ่าน ตัวแทนจำหน่าย fluke ได้ สำหรับงานไฟฟ้าทั่วไป แนะนำรุ่น FLUKE 117 ซึ่งมีคุณสมบัติการวัดที่จำเป็นครบเหมาะกับมือใหม่มากครับ
ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ คืออะไร
ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ เป็นเครื่องมือช่างไฟฟ้า ที่ช่วยให้เราสามารถวัดค่าไฟฟ้าต่างๆ เช่น โวลต์, แอมแปร์,  R และการตรวจสอบสายไฟ เครื่องมือวัด fluke (http://www.meterdd.com) 117 มีฟังชันก์ เหล่านี้ทั้งหมดนี้ หน้าจอ fluke 117 บอกผลตัวเลข 4 หลัก ซึ่งเหมาะมากสำหรับผู้เริ่มต้น มัลติมิเตอร์จะมีโหมดย่านต่างๆ ให้เลือก โดยการบิดลูกบิดไปที่โหมดย่านเหล่านั้น ตามสัญลักษณ์ ดังนี้
V วัดค่าโวลต์ ทั้งแบบกระแสตรง และกระแสสลับ
mV วัดค่าโวลต์ แรงดันต่ำ แบบDC และกระแสสลับ
? วัดค่าโอห์ม
A วัดกระแส แบบกระแสตรง และไฟฟ้ากระแสสลับ
และโหมดตรวจสอบความต่อเนื่องสำหรับ ไว้สำหรับเช็คสายไฟ
สำหรับวิธีการการวัดค่าไฟโหมดพื้นฐานต่างๆ เราได้รวบรวมแนวทางไว้ดังต่อจากนี้ไป
การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า
การวัดค่าโวลต์ หรือการวัดแรงดันไฟฟ้า ก่อนอื่นคุณต้องหาถ่าน AA ที่ใช้งานมาทำการทดลองต่อจากนั้น
1.เสียบขั้วลบสีดำเข้ากับช่อง COM (common) ที่ตัวเครื่องมือวัด fluke
2.ต่อสายแดงเข้าช่อง V
3.บิดลูกบิดไปยังย่านโหมด V แรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงสูง หรือกระแสตรงต่ำ mV จอแสดงผลจะขึ้นโหมด DC
4.นำสายสีแดงแตะที่ขั้วบวก สายสีดำแตะขั้วลบ ของถ่าน AA
5.ค่าของค่าโวลต์ ของแบตเตอรี่จะจะแสดงตัวเลขที่แม่นยำบนมัลติมิเตอร์
6.สำหรับกรณีวัดย่านกระแสสลับ ให้ปรับลูกบิดไปที่โหมด V โวลต์ AC สูง Hz เท่านั้น ซึ่งหน้าจอจะเห็นเครื่องหมาย AC
7.เสียบสายดำแดงที่ปลั๊กไฟบ้าน แต่ต้องระวังอย่าให้ทั้งสองเส้นสัมผัสกัน หรือนิ้วสัมผัสที่แท่งเหล็ก ซึ่งไฟบ้านจะขึ้นค่าประมาณ 220V
(http://pnpscience.nanasupplier.com/Picture/Product/400/%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B7%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259F%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2594-fluke-62-max-%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B7%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4-%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259F%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2594-infrared-ir-%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259A%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25AA-thermometer-161332.jpeg)
การปริมาณไฟฟ้า
1.ต่อขั้วสายสีดำเข้ากับช่อง COM (common)
2.เสียบสายแดงที่รูสัญลักษณ์ A ซึ่งเครื่องมือวัด fluke 117 สามารถวัดกระแสได้ไม่เกิน 10A
3.บิดลูกบิดไปยังย่าน กระแส ไฟฟ้ากระแสตรง
4.นำสายทั้งสองสีต่อ เข้าโหลดกับวงจรแบบอนุกรม ค่าปริมาณไฟฟ้าที่ผ่านเครื่องมือวัดไฟจะขึ้นค่าตัวเลขที่จอ
5.หากคุณต้องการตรวจวัดไฟกระแสสลับ ให้ปรับหน้าปัดไปที่ ย่านวัดกระแสสูง หรือสัญลักษณ์ A Hz ทำการต่อสายสีดำ-แดงเชื่อม เข้าโหลดแหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบอนุกรม ค่ากระแสไฟฟ้าจะแสดงที่หน้าจอเครื่องมือวัดไฟ กระนั้นควรระมัดระวังเสมอว่าเครื่องวัดสามารถตรวจสอบปริมาณไฟได้สูงสุด 10A เท่านั้น ถ้าวัดกระแสที่มากกว่านั้น ฟิวส์ภายในเครื่องจะพัง ทำให้ดิจิตอลมัลติมิเตอร์เสียหายได้
การวัดความต้านทาน
การตรวจสอบค่าโอห์ม หรือ R คือ ตัวต้านทาน กระแสไฟฟ้า เพื่อลดกระแสให้เหมาะกับอุปกรณ์หรือวงจรต่างๆ
1.ต่อสายแดงดำ เหมือนการตรวจสอบโวลต์ เส้นสีแดงเสียบเข้ากับสัญลักษณ์ ? โอเมก้า สัญลักษณ์กรีกโบราณ ที่ตัวเครื่องมือวัด fluke
2. ปรับหน้าปัดไปยังสัญลักษณ์ ? ความต้านทาน และหากเอาสายแดงดำมาสัมผัสกันจะไม่มีค่า R มาตรวัดจะแสดงผลที่ 0 โอห์ม คือความต้านทานไม่มี
3.นำเอาสายขั้วบวกลบ ไปแตะยังปลายสองข้างของสายไฟที่จะวัดค่าความต้านทาน
4.จากนั้นจอแสดงผลของเครื่องวัดจะแสดงตัวเลขค่าความต้านทานของวัสดุนั้นๆ ซึ่งถ้าไม่มีความต้านทานแล้ว ค่าโอห์มจะเท่ากับ 0
การวัดความต่อเนื่อง หรือวิธีเช็คสาย
ตรวจสอบความต่อเนื่อง เป็นวัดความสามารถในการนำไฟฟ้าของอุปกรณ์ หรือเช็ควัสดุนำไฟว่าเชื่อมต่อกันหรือไม่ วัดว่าสายไฟเสียหรือไม่ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1.แทงสายสีดำขั้วลบ เข้าช่อง COM (common)
2.แทงสายสีแดงขั้วลบเข้า ? ที่ตัวเครื่องมือวัด fluke
3.บิดลูกบิดไปที่โหมดย่านความต่อเนื่อง ลักษณะคล้ายสัญญาณมือถือ
4.ทดสอบโดยการนำปลายสายดำแดงมาสัมผัสกัน ซึ่งมีเสียงเดือน ปี๊บ นั่นหมายความว่าสัญญาณปรกติ
5.จากนั้นเอานำสายแดง-ดำ สัมผัสที่ปลายวัสดุที่เราจะทดลองทั้งสองด้าน ถ้าหากเครื่องมือวัดส่งเสียงดังบี๊บๆ แสดงว่าสายเชื่อมต่อกัน นั่นเอง แต่ถ้าไม่มีเสียงดัง แสดงว่าไม่มีความต่อเนื่องกัน
ไม่ยากเลยใช่ไหมครับ ทั้งนี้เพื่อนๆต้องทำการทดลองฝึกฝนให้เข้าใจ ให้ถ่องแท้ และต้องพึงระวังเสมอเวลาจะตรวจสอบไฟฟ้ากระแส AC  ซึ่งเป็นไฟฟ้าที่มีแรงดันสูง มีความอันตรายมากทีเดียว และหากคุณมีงบประมาณไม่จำกัด การเลือกซื้อเครื่องเครื่องมือวัดไฟยี่ห้อ fluke จากตัวแทนจำหน่าย fluke ใกล้บ้านท่าน จะช่วยให้คุณตรวจวัดไฟได้ง่ายทีเดียว เพราะแบรนด์ทั่วไปแล้วจะมีย่านโหมดที่ใช้งานยากกว่านี้ แต่กับของ fluke มีการออกแบบระบบทำให้มือใหม่ตรวจวัดไฟได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้เรื่องมาตรฐานงาน fluke ถือเป็นหมายเลขหนึ่งทีเดียว

ที่มา : http://www.meterdd.com (http://www.meterdd.com)

Tags : fluke,เครื่องมือวัด fluke,ตัวแทนจำหน่าย fluke