ผู้เขียน หัวข้อ: ยาแก้เมาเหล้า: วิตามินที่ทดแทนร่างกายเมื่อร่างกายต้องการพลังงาน  (อ่าน 55 ครั้ง)

ออฟไลน์ siritidaphon

  • Edge LED TV member
  • ***
  • กระทู้: 410
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล์
ยาแก้เมาเหล้า: วิตามินที่ทดแทนร่างกายเมื่อร่างกายต้องการพลังงาน  หลังจากที่เราออกกำลังกายแล้ว การบริโภควิตามินและ[^_^]ที่ถูกต้องจะสามารถช่วยให้ร่างกายกลับมาสู่สภาวะที่ดีและส่งเสริมกระบวนการฟื้นฟูได้ดีขึ้น วิตามินและเกลือแร่ที่มีประโยชน์หลังจากการออกกำลังกาย ได้แก่ วิตามินบีชนิดต่างๆ โดยเฉพาะ วิตามินบี 12 และ กรดโฟลิก เนื่องจากมีบทบาทสําคัญในกระบวนการสร้างเม็ดเลือดแดง และเกี่ยวข้องกับกระบวนการเผาผลาญสารอาหารเป็นพลังงาน

วิตามินซี เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นในร่างกาย นอกจากนี้ยังมีส่วนช่วยในการซ่อมแซมและการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อในร่างกาย ช่วยทําให้แผลหายเร็วขึ้น

วิตามินเอ เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์และ ช่วยส่งเสริมการทํางานของระบบภูมิคุ้มกัน

สำหรับเกลือแร่ที่ผู้ออกกำลังควรให้ความสําคัญ คือ แคลเซียมและธาตุเหล็ก เนื่องจากแคลเซียมมีส่วนช่วยสร้างกระดูกและฟัน เกี่ยวข้องกับการยืดหดของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทในการเคลื่อนไหว การขาดแคลเซียม อาจทำให้เป็นตะคริวได้ เกลือแร่ที่สำคัญอีกชนิด คือ ธาตุเหล็ก ที่เป็นส่วนสําคัญในการสร้างฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง เกี่ยวข้องกับการส่งออกซิเจนเพื่อมาเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ทําให้ร่างกายสามารถผลิตพลังงานโดยระบบแอโรบิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เราควรบริโภคอาหารที่สมดุลและมีสารอาหารที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมกระบวนการฟื้นฟูและการเจริญเติบโตของร่างกายหลังจากการออกกำลังกาย เพื่อให้ร่างกายสามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารได้สูงสุด


เครื่องดื่มชูกำลัง กับสิ่งที่ไม่เคยรู้มาก่อน

ทางเลือกหนึ่งในการสร้างความกระปรี้กระเปร่าเมื่อมีอาการอ่อนเพลียและเหนื่อยล้า คือการดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง (energy drink) ซึ่งมักมีส่วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่ คาเฟอีน สารให้ความหวานที่เป็นแหล่งพลังงาน เช่น น้ำตาลซูโครส  และส่วนประกอบอื่นๆ เช่น กรดอะมิโน คาร์นิทีน อิโนซิทอล สารสกัดสมุนไพร เช่น โสม ซึ่งเรามักได้ยินคำเตือนว่า “ห้ามดื่มเกินวันละ 2 ขวด โปรดสังเกตคำเตือนบนฉลากก่อนดื่มทุกครั้ง” ในโฆษณาเครื่องดื่มชูกำลังอยู่บ่อยๆ เนื่องจากส่วนประกอบเหล่านี้ควรได้รับในปริมาณที่เหมาะสม เช่น คาเฟอีนไม่ควรดื่มเกิน 250 มิลลิกรัม เนื่องจากทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูงชั่วคราว แต่หากดื่มอย่างต่อเนื่องอาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจหนา และหากบริโภคในปริมาณมากกว่า 10 กรัมขึ้นไป ส่งผลให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ ส่วนน้ำตาลในเครื่องดื่มชูกำลังนั้น อาจส่งผลให้เกิดภาวะอ้วนในระยะยาว และทำให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ รวมถึงเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดมากขึ้น


สำหรับสารอื่นๆ อาจต้องพิจารณาเป็นรายชนิด เช่น สารสกัดโสม อาจต้องระวังในผู้ที่รับประทานยาละลายลิ่มเลือด เช่น วาร์ฟาริน (warfarin) ที่อาจเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกจากยาได้  ดังนั้นการพิจารณาดื่มเครื่องดื่มชูกำลังควรต้องระมัดระวัง โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคอ้วน นอกจากนี้หากมีอาการเหนื่อยล้า ควรจัดการสาเหตุและเข้ารับการประเมินจากแพทย์หากมีอาการรุนแรง หรือไม่ดีขึ้นเมื่อปรับพฤติกรรมหรือจัดการเบื้องต้นแล้ว เช่น นอนหลับอย่างเพียงพอ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ รับประทานอาหารหรือผลิตเสริมอาหารที่ส่งเสริมการใช้พลังงานของร่างกาย



ยาแก้เมาเหล้า: วิตามินที่ทดแทนร่างกายเมื่อร่างกายต้องการพลังงาน อ่านบทความเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่ https://mmed.com/