แอสตาแซนธิน ใน แอสแคน
เป็นสาร Antioxidant ที่ดีเยี่ยม
เป็นสารในกลุ่มแซนโทรฟิลล์ ตระกูลแคโรทีนอยด์ มีลักษณะเป็นสารสีแดง พบมากใน ปลาแซลมอน ไข่ปลาคาร์เวียร์ เปลือกปู
กุ้งและสาหร่ายชนิด Microalgae Haematococus Pluvialis
จากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์พบว่า แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระได้แรงกว่า
วิตามิน ซี 6,000 เท่า, CoQ10 800 เท่า, วิตามิน อี 550 เท่า, Green tea catechins 550 เท่า,
Alpha lipoic acid 75 เท่า, เบต้า แคโรทีน 40 เท่า และ สารสกัดจากเมล็ดองุ่น 17 เท่า
ประโยชน์ของสารแอสตาแซนธิน
นอกจากเป็นสารต้านอนุมูลอิสระได้ดีเยี่ยม ยังมีประโยชน์ต่อร่างกายในด้านต่างๆดังนี้
● ช่วยให้ผิวคงความอ่อนวัย ลดริ้วรอย ความหย่อนคล้อยและจุดด่างดำ
● ช่วยบำรุงสายตา ลดอาการเมื่อยล้าของสายตาจากการใช้คอมพิวเตอร์
● ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อร่างกาย
● ช่วยดูแลสุขภาพกระเพาะอาหาร
● ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เส้นเลือดในสมองแตก
ใครบ้างที่ควรรับประทานสารต้านอนุมูลอิสระแอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
● ผู้ที่ใส่ใจในสุขภาพทุกเพศทุกวัย
● ผู้ที่ใส่ใจในความงามและสุขภาพผิว
● ผู้ที่ต้องเผชิญกับมลภาวะต่างๆเป็นประจำเช่นความเครียด ฝุ่นควันจากท่อไอเสียรถยนต์ เป็นต้น
● ผู้ที่ต้องทำงานใช้สายตากับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
● นักกีฬาและผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ
Beta Glucan ใน แอสแคน
ผลิตจากยีสต์ดำ ซึ่งนอกจากยีสต์ดำแล้วยังอาจใช้เห็ดต่างๆ (เช่น เห็ดหลินจือ, เห็ดไมตาเกะ, เห็ดหอม, เห็ดแคลง) ข้าวโอ๊ต, ข้าวบาร์เลย์ แต่คุณภาพไม่ดีเท่ายีสต์
ascanแอสแคนยังมีเบต้าคลูแคนซึ่งเป็น สารสกัดจากยีสดำ ช่วยกระตุ้นภูมิต้านทานในเมล็ดเลือดขาว กำจัดเชื้อโรงเซลล์เสียต่างๆ ในร่างกาย รวมทั้งเซลล์มะเร็ง
ที่คอยก่อตัวเป็นมะเร็ง เมื่อเซลล์ดีออนแอลง เบต้ากลูแคนทำให้ระบบภายในแข็งแรง ซึงคุณสมบัติทั้งสองอย่างนี้ทำให้คุณมีเกราะคุ้มครองทั้งภายในและภายนอก
มีประสิทธิภาพ และสรรพคุณผลต่อการบำบัดรักษาโรคต่างๆ
1.โรคความดันโลหิตสูง และต่ำ
2.โรคหัวใจอันมีสาเหตุจากโรคความดันโลหิตสูง และลิ่มเลือด
3.เป็นลมบ่อย น้ำตาลในเส้นเลือดสูง เส้นเลือดอุดตัน
4.โรคหญิงวัยหมดประจำเดือน และโรคเฉพาะสตรี
5.ท้องผูก ริดสีดวงทวาร
6.โรคตับอักเสบเรื้อรัง
7.ปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะบ่อย
8.โรคกระเพาะ โรคลำไส้เป็นแผล
9.โรคภูมิแพ้ (เช่น แพ้อากาศ หวัดเรื้อรัง)
10.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหอบหืด
11.ปวดเอว ปวดข้อ ไขข้ออักเสบ (โรคประจำตัวในวัยกลางคนขึ้นไป)
12.โรคนอนไม่หลับ เซื่องซึม อ่อนเพลีย
13.โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง เป็นต้น
14.ต้านการก่อตัวของเซลล์มะเร็ง
15.ระงับการกระจายของเซลล์มะเร็ง
16.ระงับอาการปวด
